สมัยอีโอซีน (อังกฤษ : Eocene ) เป็นสมัยหนึ่งของยุคพาลีโอจีน ในธรณีกาลระหว่าง 56 ถึง 33.9 ล้านปีก่อนถึงปัจจุบัน
สมัยอีโอซีน
56.0 – 33.9 ล้านปีก่อน
แผนที่โลกเมื่อ 50 ล้านปีก่อน
วิทยาการลำดับเวลา
− 65 —
–
− 60 —
–
− 55 —
–
− 50 —
–
− 45 —
–
− 40 —
–
− 35 —
–
− 30 —
–
− 25 —
–
←
เหตุการณ์สูญพันธุ์ยุคครีเทเชียส–พาลีโอจีน
การแบ่งย่อยของยุคพาลีโอจีนตาม ICS ปี 2564 [2] มาตราแกนแนวตั้ง: ล้านปีก่อน
นิรุกติศาสตร์
ความเป็นทางการของชื่อ
ทางการ
ข้อมูลการใช้
เทห์วัตถุ
โลก
การใช้ระดับภาค
ทั่วโลก (ICS )
การใช้ช่วงเวลา
ธรณีกาลของ ICS
การนิยาม
หน่วยวิทยาการลำดับเวลา
สมัย
หน่วยลำดับชั้นหิน
หินสมัย
ความเป็นทางการของช่วงกาล
ทางการ
คำนิยามขอบล่าง
ความผิดปกติเชิงลบอย่างรุนแรงในค่า δ13 C ใน PETM [3]
ขอบล่าง GSSP
แหล่งดาบาบียา ลักซอร์ ประเทศอียิปต์ [3] 25.5000°N 32.5311°E / 25.5000; 32.5311
การอนุมัติ GSSP
2003[3]
คำนิยามขอบบน
การปรากฎระดับอ้างอิงสุดท้าย ของฟอรามินิเฟอรา Hantkenina และ Cribrohantkenina
ขอบบน GSSP
แหล่งมัสซีญาโน กวารี มัสซีญาโน อังโกนา ประเทศอิตาลี 43.5328°N 13.6011°E / 43.5328; 13.6011
การอนุมัติ GSSP
1992[4]
Basilosaurus
Prorastomus , an early sirenian
สมัยอีโอซีนเป็นสมัยที่สองของยุคพาลีโอจีน ซึ่งเป็นยุคแรกของมหายุคซีโนโซอิก สมัยอีโอซีน ต่อมาจากสมัยพาลีโอซีน และตามด้วยสมัยโอลิโกซีน
ชื่อ Eocene มาจากกรีกโบราณἠώς (ēṓs, “รุ่งอรุณ”) และκαινός (kainós, “ใหม่”) และหมายถึง “รุ่งอรุณ” ของสัตว์สมัยใหม่ที่ปรากฏในช่วงยุคนี้[5]
สมัยนี้กินเวลาประมาณ 15 ล้านปี มีอากาศเย็น ภูมิประเทศ เป็นป่าดิบชื้น ผสมป่าดิบแล้ง และมีทุ่งหญ้า แพร่กระจายไปทั่วโลก และสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ในสมัยนี้มีวิวัฒนาการอย่างรวดเร็ว โดยที่สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมเริ่มมีวิวัฒนาการจากขนาดเล็กให้มีขนาดใหญ่ขึ้น และเป็นสมัยแรกที่ช้าง เริ่มปรากฏขึ้น สัตว์กีบก็เริ่มมีวิวัฒนาการขึ้นมากหลายชนิดเช่น สมเสร็จ ,แรด ,อูฐ ,แอนทราโคแทร์ ,ชาลิโคแทร์ (รูปร่างคล้ายม้า),ไททันโนแทร์ (รูปร่างคล้ายแรด),แอนดูซาร์ส และ ฮาพาโกเลสเทส นอกจากนี้ยังมีสัตว์ฟันแทะ เช่น ไพรเมต ค้างคาว และสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมในทะเล ได้แก่ ปลาวาฬ โลมา พะยูน พบปะการัง หอยกาบ คู่ชนิดต่าง ๆ ปลาเทเลออสท์ (Teleost) ซึ่ง เป็นปลากระดูกแข็ง นกในสมัยนี้ได้วิวัฒนาการมากขึ้นโดยมีนกบินไม่ได้ขนาดใหญ่เป็นนักล่าบนสุดในห่วงโซ่อาหารอยู่
This article is issued from web site
Wikipedia . The original article may be a bit shortened or modified. Some links may have been modified. The text is licensed under “Creative Commons – Attribution – Sharealike” [1] and some of the text can also be licensed under the terms of the “GNU Free Documentation License” [2]. Additional terms may apply for the media files. By using this site, you agree to our Legal pages . Web links:
[1] [2]